HPV ไวรัสก่อมะเร็งร้าย
HPV ไวรัสก่อมะเร็งร้าย
ผู้หญิงควรรู้ HPV ไวรัสก่อมะเร็งร้าย !!!
1. การติดเชื้อไวรัส HPV สายพันธุ์ก่อมะเร็ง จากการมีเพศสัมพันธ์ เป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดมะเร็งปากมดลูก
2. ผู้หญิงกว่าร้อยละ 50-80 เคยติดเชื้อ HPV ครั้งใดครั้งหนึ่งในชีวิต ส่วนใหญ่มักไม่แสดงอาการ
3. ผู้หญิงประมาณร้อยละ 90 ร่างกายจะกำจัดเชื้อไวรัส HPV ได้เอง ด้วยภูมิคุ้มกันของร่างกายภายใน 2 ปี
4. ผู้หญิงประมาณร้อยละ 10 ยังคงมีการติดเชื้อไวรัส HPV แบบฝังแน่นอยู่ มีความเสี่ยงที่จะทำให้เซลล์ปากมดลูกกลายเป็นมะเร็ง
5. มะเร็งปากมดลูกกว่าร้อยละ 80 พบมากในช่วงอายุ 30-60 ปี และประมาณร้อยละ 20 พบในช่วงอายุเกิน 60 ปี
6. ประวัติคนเป็นมะเร็งปากมดลูกมากกว่าร้อยละ 60 ไม่เคยตรวจคัดกรอง และร้อยละ 30 ผลตรวจลบลวงจากวิธีแพ็บเสมียร์
7. กว่าร้อยละ 70 ของผู้หญิงไทยที่ไม่ไปตรวจคัดกรอง เพราะ อาย กลัวการขึ้นขาหยั่ง และไม่มีเวลา
8. มะเร็งปากมดลูกระยะแรกเริ่มไม่มีอาการผิดปกติ สามารถตรวจพบได้จากการตรวจคัดกรอง
1. การติดเชื้อไวรัส HPV สายพันธุ์ก่อมะเร็ง จากการมีเพศสัมพันธ์ เป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดมะเร็งปากมดลูก
2. ผู้หญิงกว่าร้อยละ 50-80 เคยติดเชื้อ HPV ครั้งใดครั้งหนึ่งในชีวิต ส่วนใหญ่มักไม่แสดงอาการ
3. ผู้หญิงประมาณร้อยละ 90 ร่างกายจะกำจัดเชื้อไวรัส HPV ได้เอง ด้วยภูมิคุ้มกันของร่างกายภายใน 2 ปี
4. ผู้หญิงประมาณร้อยละ 10 ยังคงมีการติดเชื้อไวรัส HPV แบบฝังแน่นอยู่ มีความเสี่ยงที่จะทำให้เซลล์ปากมดลูกกลายเป็นมะเร็ง
5. มะเร็งปากมดลูกกว่าร้อยละ 80 พบมากในช่วงอายุ 30-60 ปี และประมาณร้อยละ 20 พบในช่วงอายุเกิน 60 ปี
6. ประวัติคนเป็นมะเร็งปากมดลูกมากกว่าร้อยละ 60 ไม่เคยตรวจคัดกรอง และร้อยละ 30 ผลตรวจลบลวงจากวิธีแพ็บเสมียร์
7. กว่าร้อยละ 70 ของผู้หญิงไทยที่ไม่ไปตรวจคัดกรอง เพราะ อาย กลัวการขึ้นขาหยั่ง และไม่มีเวลา
8. มะเร็งปากมดลูกระยะแรกเริ่มไม่มีอาการผิดปกติ สามารถตรวจพบได้จากการตรวจคัดกรอง


ผลกระทบเมื่อเป็นมะเร็งปากมดลูก*
1. 80% ของมะเร็งปากมดลูกพบในผู้หญิงวัย 30-60 ปี
> วัยทำงาน เสียงาน ขาดรายได้ ขาดผู้นำองค์กร
> ครอบครัว เป็นแม่ เป็นลูก ขาดเสาหลัก ขาดคนดูแล
> ประเทศชาติ สูญเสียทรัพยากรมนุษย์ ภาระงบประมาณ
2. ผลกระทบต่อสุขภาพ จิตใจ เศรษฐกิจและ สังคม
3. คุณภาพชีวิตลดลง จากความเครียด ความวิตกกังวล ความผิดปกติของร่างกาย การตอบสนองทางเพศลดลง
ความผิดปกติของร่างกาย ความสัมพันธ์ในครอบครัว
4. ใช้เวลารักษา 2 สัปดาห์ถึง 2 เดือน และติดตามผลนานอย่างน้อย 5 ปี

*ขอบพระคุณข้อมูลของ ศ.นพ.จตุพล ศรีสมบูรณ์ ภาควิชาสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา คณะแพทย์ศาสตร์ ม.เชียงใหม่ )
08 ธันวาคม 2563
ผู้ชม 1120 ครั้ง